คณะเเพทย์ศาสตร์ มช. เปิดตัวห้องปฏิบัติการทางการแพทย์ระบบอัคโนมัติแบบครบวงจร

คณะเเพทย์ศาสตร์ มช. เปิดตัวห้องปฏิบัติการทางการแพทย์ระบบอัคโนมัติแบบครบวงจร
(Complete Integrated Total Lab Automation)
แห่งแรกและแห่งเดียวในเอเชียตะวันออกเฉียงได้ ด้วยเทคโลยีทางทั้องห้องปฏิบัติด


โรงพยาบาลมหาราชนครเชียงใหม่ คณะแพยศาสตร์ มช. แถลงข่าวสื่อมวลชนพร้อมเยี่ยมชม
ห้องปฏิบัติการทางการแพทย์ระบบอัตโนมัติแบบครบวงจร (Complete Integrated Total Lab
Automation) แห่งแรกและแห่งเดียวในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ด้วยเทคโนโลยีทางห้องปฏิบัติการสูงสุด
ยกระดับมาตรฐานการให้บริการตรวจวิเคราะห์ทางห้องปฏิบัติการด้วยเทคโนโลยีที่ล้ำสมัย รองรับการ
ให้บริการที่มีประสิทธิภาพ รวดเร็ว และแม่นยำมากยิ่งขึ้น ในวันจันทร์ ที่ 18 พฤศจิกายน 2567 ณ ชั้น 15
อาคารเฉลิมพระบารมี คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

ศ.(เชี่ยวชาญพิเศษ)นพ.บรรณกิจ โถจนาภิวัฒน์ คณบดีคณะแพทยศาสตร์ มช. เปิดเผยว่า
“ห้องปฏิบัติการทางการแพทย์ระบบอัตโนมัติแบบครบวงจร (Complete Integrated Total Lab
Automation)” ระบบใหม่ของคณะแพทยศาสตร์ มช. สามารถเชื่อมโยงการทำงานตั้งแต่การเจาะเลือด การ
ตรวจวิเคราะห์ในห้องปฏิบัติการเคมีคลินิก ภูมิคุ้มกัน โลหิตวิทยา จนถึงการจัดการสิ่งส่งตรวจหลังการตรวจ
วิเคราะห์ เป็นระบบห้องปฏิบัติการระดับมาตรฐานสากลขั้นสูงสุด ทั้งนี้เพื่อให้การบริการเป็นที่ยอมรับ สร้าง
ความพึงพอใจสูงสุดแก่ผู้ใช้บริการ โดยห้องปฏิบัติการทางการแพย์ระบบอัตโนมัติแบบครบวงจร มีความ
สะดวกและประสิทธิภาพเหนือกว่าระดับเติมที่มีมาก่อนในเอเรียตะวันออกเอียงใต้


ห้องปฏิบัติการอัตโนมัติครบวงจรนี้ได้รับการออกแบบมาเพื่อตอบสนองความต้องการการตรวจ
วิเคราะห์ที่มีความแม่นยำระดับสูงสุด ลดระยะเวลาการทำงาน และเพิ่มความสะดวกสบายทั้งแก่ทั้งผู้รับบริการ
และบุคลากร ด้วยระบบการทำงานเพื่อรองรับผู้ป่วยที่มีความชับช้อนและมีจำนวนมากขึ้น ที่เชื่อมต่อมต่อกันตั้งแต่
กระบวนการเจาะเลือดไปจนถึงการจัดการผลตรวจวิเคราะห์ ด้วยสภาพแวดล้อมของห้องเจาะเลือดและ
ห้องปฏิบัติการ ได้รับการปรับปรุงใหม่ให้ทันสมัย และสอดคล้องตามมาตรฐานสากล ช่วยให้การทำงานของ
น ซึ่งเป็นส่วนสำคัญ
บุคลากรราบรื่นไร้รอยต่อ และผู้เข้ารับบริการได้รับความสะดวกสบายและธะรวดเร็วขึ้น


ของพันธกิจคณะแพทยศาสตร์ มช. ในการพัฒนาประสิทธิภาพ และคุณภาพการให้บริการทางการแพทย์ใน
การเป็นโรงเรียนแพทย์ในดวงใจ”
รศ.นพ.นเรนทร์ โชติรสนิรมิต ผู้อำนวยการโรงพยาบาลมหาราชนครเชียงใหม่ เปิดเผยว่า “งาน
ปฏิบัติการชันสูตร โรงพยาบาลมหาราชนครเชียงใหม่ ทำหน้าที่ในการให้บริการเก็บสิ่งส่งตรวจเพื่อตรวจ
วิเคราะห์ทางห้องปฏิบัติการทางการแพทย์ ในปี 256666 ที่ผ่านมา มีจำนวนผู้รับบริการเจาะเลือด 240,000 ราย
และให้บริการตรวจวิเคราะห์ถึง 5,400,000 รายการทดสอบ และมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นอย่างน้อยร้อยละ 7 ในทุกปี
ปัจจุบันจึงได้ยกระดับห้องปฏิบัติการให้ทันสมัย ด้วยระบบห้องปฏิบัติการอัตโนมัติครบวงจร โดยมีเป้าหมาย
เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการตรวจวิเคราะห์ รองรับจำนวนผู้ป่วยที่เพิ่มขึ้น รวมถึงช่วยให้แพย์สามารถตัดสินใจ
ได้อย่างแม่นยำและรวดเร็ว ซึ่งเป็นปัจจัยสำคัญในการรักษาผู้ป่วยโดยทุกกระบวนการมีระบบควบคุมคุมคุณภาพที่สอดคล้องตามมาตรฐานสากล ระบบจัดการคิวอัจฉริยะระบบคิวอัตโนมัติ (Self-service Klosk) ที่เชื่อมต่อ
กับฐานก็อนุภาระโรรพยาบาล ช่วงให้ผู้ที่เบวิการ สารถกครั้นก็ใะเลือดใช้ยดเร็ว รวยเรีร้าย ทั้ง
ยังสามารถปรับเปลี่ยนเสียงเรียกคิวเป็นภาษาอังกฤษสำหรับชาวต่างชาติโดยอัตโนมัติ จึงช่วยจัดการคิวให้
เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ

ลดความแออัดในพื้นที่ ลดความผิดพลาดที่อาจเกิดจากการทำงานของเจ้าหน้าที่
นอกจากนี้ ยังมีการใช้เครื่องเตรียมและติฉลากหลอดเลือดอัตโนมัติ ที่ลดข้อผิดพลาดในการเตรียมและติด
ฉลากหลอดเลือด ซึ่งช่วยให้รองรับผู้รับบริการได้มากถึง 300 รายต่อชั่วโมง และโปรแกรมบ่งชี้ตัวผู้ป่วยก่อน
การเจาะเลือด หรือระบบ ABS (Auto Blood collection System) ช่วยยืนยันข้อมูลผู้ป่วยอย่างถูกต้อง
รวมถึงแสดงประวัติสำคัญ เช่น การแพ้ ข้องดเว้นในการเจาะเลือดสำหรับผู้ป่วยเฉพาะราย เพิ่มความปลอดภัย
และความแม่นยำในการให้บริการ
ท้อมจารเลือดได้รับกรออกนรบเพื่อเพิ่มความละหวงบาย มีโรรเจารเหนื่อยที่มีรรรรบทุนทุนที่มีที่
วางแขน ช่วยให้ผู้รับบริการรู้สึกผ่อนคลายระหว่างการเจาะเลือด ทั้งยังเพิ่มความปลอดภัยและลดความแออัด
ในพื้นที่ มีระบบสายพาน (Flextrac Conveyor System) ช่วยลำเลียงหลอออดเลือดจากห้องเจาะเลือดไปยัง
ห้องปฏิบัติการได้อย่างรวดเร็ว ลดการสัมผัสหลอดเลือดโดยเจ้าหน้าที่ พร้อมรองรับการลำเลียงใต้มากถึง
1,200 หลอดต่อชั่วโมง
ห้องปฏิบัติการทันสมัย ด้วยระบบห้องปฏิบัติการอัตโนมัติครบวงจรนี้ ช่วยให้การตรวจวิเคราะห์ใน
ห้องปฏิบัติการเคมีคลินิก ภูมิคุ้มกัน และโลหิตวิทยาเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ เพิ่มขีดความสามารถในการ
ให้บริการตรวจวิเคราะห์ ลดข้อผิดพลาด ลดการใช้แรงงานคน ลดระยะการรอคอยของผู้มาใช้บริการ และเพิ่ม
ความพึงพอใจของผู้รับบริการ และยังช่วยให้บุคลากรสามารถจัดการสิ่งส่งตรวจที่ต้องการการดูแลเป็นพิเศษใต้
มากขึ้น เป็นการสนับสนุนการให้บริการที่รวดเร็ว และมีคุณภาพตามมาตรฐานระดับสากล การพัฒนานี้ไม่
เพียงแต่ยกระดับคุณภาพการบริการของโรงพยาบาลมหาราชนครเชียงใหม่เท่านั้น แต่ยังเป็นการเพิ่มศักยภาพ
ในการดูแลสุขภาพผู้ป่วยอย่างมีประสิทธิภาพ เพื่อสร้างความไว้วางใจและความพึงพอใจสูงสุดแก่ประชาชน”
การพัฒนาเทคโนโลยีทางห้องปฏิบัติการทางการแพทย์ระบบอัตโนมัติแบบครบวงจรนี้

ทำให้โรงพยาบาลมหาราชนครเชียงใหม่ สามารถรองรับการบริการผู้ป่วยได้มากขึ้น และลดขั้นตอนการทำงานที่อาจ
เกิดความผิดพลาดจากมนุษย์ เช่น การเตรียมหลอดเลือด การจัดการคิว และการบ่งชี้ตัวผู้ป่วยก่อนการเจาะ
เลือด ซึ่งจะช่วยเพิ่มความสะดวกสบายทั้งแก่ผู้รับบริการและบุคลากร ตลอดจนช่วยยกระดับการให้บริการด้าน
สุขภาพในโรงพยาบาลมหาราชนครเชียงใหม่ และเป็นก้าวสำคัญในความร่วมมือระหว่างภาครัฐและเอกชน
เพื่อพัฒนาการดูแลสุขภาพในประเทศไทยและภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ให้มีมาตรฐานระดับโลกอีกด้วย

Related posts